‘ผีน้อยไทยในเกาหลี’ ทางรอดจากสังคมไร้ทางเลือก
วจนา วรรลยางกูร พาไปสำรวจปรากฏการณ์ผีน้อยไทยในเกาหลีใต้ ผ่านงานวิจัยของ ‘ดนย์ ทาเจริญศักดิ์’ ที่มองว่าคนกลุ่มนี้คือผู้เสียสละ ไม่ใช่คนเห็นแก่ตัวแบบที่สังคมไทยกล่าวหา


วจนา วรรลยางกูร พาไปสำรวจปรากฏการณ์ผีน้อยไทยในเกาหลีใต้ ผ่านงานวิจัยของ ‘ดนย์ ทาเจริญศักดิ์’ ที่มองว่าคนกลุ่มนี้คือผู้เสียสละ ไม่ใช่คนเห็นแก่ตัวแบบที่สังคมไทยกล่าวหา
วจนา วรรลยางกูร ชวน สุณัย ผาสุข พูดคุยถึงสถานการณ์สิทธิมนุษยชนที่น่าจับตามองในปี 2019 ทั้งกระแสโลกจนถึงกระแสไทยอันจะมีจุดเปลี่ยนสำคัญคือการเลือกตั้งซึ่งเป็นที่จับตาของนานาชาติ
วจนา วรรลยางกูร ชวนมองย้อนไปในปี 2018 ที่ผ่านมา ผ่านบทความใน 101 ที่พูดถึงเรื่องความยุติธรรมในหลากหลายด้าน ทั้งในแง่กฎหมาย สิทธิมนุษยชน และกระบวนการยุติธรรม และพบว่าสิ่งที่ยังคงไม่หายไปคือการพยายามต่อสู้กับความไม่เป็นธรรมโดยภาคประชาชน
วจนา วรรลยางกูร คุยกับ ศักดิ์ดา แก้วบัวดี นักแสดงที่หันมาทำงานช่วยเหลือผู้ลี้ภัย ซึ่งเสี่ยงกฎหมายและต้องยืนรับก้อนอิฐจากคำวิจารณ์ว่าทำไมไม่ช่วยคนไทยก่อน คำตอบนั้นอาจเรียบง่ายถ้ามองจากหลักมนุษยธรรม
วจนา วรรลยางกูร พาไปทบทวนปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้ความรุนแรงของเจ้าหน้าที่รัฐ เมื่อการซ้อมคนบริสุทธิ์ให้รับสารภาพทำให้ครอบครัวเหยื่อเหมือนตกนรกทั้งเป็น และการพรากพ่อไปจากครอบครัว ทำให้ภรรยาและลูกต้องต่อสู้ในกระบวนการยุติธรรมสิบกว่าปี ก่อนพบคำตอบว่าไม่พบผู้กระทำผิด
วจนา วรรลยางกูร พาไปสำรวจการจัดงานวิ่งในยุคที่ตัวเลขจำนวนงานวิ่งและนักวิ่งเติบโตอย่างรวดเร็ว นอกจากผลกระทบทางสังคมแล้วยังสร้างความเปลี่ยนแปลงในแง่ธุรกิจที่ทำให้แวดวงผู้จัดงานปั่นป่วน
กิจการเพื่อสังคมเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่ใช้แก้ปัญหาสังคม แต่ในไทยมีความท้าทายที่ยังไม่สามารถประคองธุรกิจให้ยั่งยืนได้ จึงเกิดกฎหมายส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมเพื่อเป็นกลไกหนึ่งในการสร้างระบบนิเวศที่เหมาะสมในการเติบโตของกิจการเพื่อสังคม
โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ มองความเป็นไปได้ของสังคมไทยในการสอนวิชาปรัชญาในโรงเรียน ที่จะช่วยพัฒนาทักษะความคิดเชิงวิพากษ์ของนักเรียนจนถึงสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย
วจนา วรรลยางกูร คุยกับ ผศ.ดร.ดุลยภาค ปรีชารัชช อาจารย์โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ ถึงบทบาทไทยในฐานะประธานอาเซียนปี 2019 ขยายภาพความไม่เป็นประชาธิปไตยในอาเซียนที่แต่ละประเทศเข้ามาโอบอุ้มกันและกัน
ความเห็นจากวงเสวนา ‘Open Data และ AI เพื่อความยุติธรรมที่ประชาชนมีส่วนร่วม’ ที่มุ่งศึกษาความเป็นไปได้ทางเทคโนโลยีเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหาความยุติธรรมในสังคมไทย
วจนา วรรลยางกูร พาไปสำรวจเส้นทางของ ‘ร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต’ ฉบับล่าสุด พร้อมตีแผ่ให้เห็นช่องโหว่ที่ถูกอำพรางไว้ ประกอบกับความเห็นจากภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า