fbpx

World

21 Oct 2021

ญี่ปุ่นและนายกฯ คนใหม่ในกระแสลมการเลือกตั้ง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์เส้นทางที่เต็มไปด้วยเรื่องเหนือความคาดหมายในการก้าวสู่ตำแหน่งหัวหน้าพรรค LDP ซึ่งปูทางให้ ฟุมิโอะ คิชิดะ ขึ้นมากุมบังเหียนรัฐบาล และความเป็นไปได้ของหมากเกมการเมืองหลังการประกาศยุบสภาเลือกตั้งใหม่

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

21 Oct 2021

Global Affairs

19 Aug 2021

การคะเนพลาดในประวัติศาสตร์สงคราม

ในวาระครบรอบ 76 ปีสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ‘การคะเนพลาด’ ในยุทธศาสตร์สงครามของทั้งชาติฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่านอักษะจนกลายเป็นหุบเหวไปสู่มหาสงคราม

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

19 Aug 2021

World

28 Jun 2021

วาทกรรมมือที่สามในยามที่จีนก้าวเป็นใหญ่ในภูมิภาค

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์วาทกรรม ‘มือที่สาม’ ซึ่งเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ของจีน เพื่อสร้างภาพพจน์และส่งเสริมอำนาจจีนในเวทีการเมืองระหว่างประเทศ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

28 Jun 2021

World

26 Apr 2021

เกมการยั่วแหย่ในยุทธศาสตร์ข้อพิพาททะเลจีน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงกลวิธีสีเทาที่จีนกำลังใช้เพื่อบรรลุเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ นั่นคือการ ‘ยั่วแหย่’ ทางทะเลต่อชาติคู่อริในทะเลจีน โดยมองญี่ปุ่นเป็นกรณีศึกษา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

26 Apr 2021

Asia

17 Feb 2021

ขจัดให้หมดไปหรือจะคงไว้เพื่อการยับยั้ง: ญี่ปุ่นบนทางแพร่งนิวเคลียร์

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงสถานะย้อนแย้งที่กลายเป็น ‘ทางแพร่ง’ ของชาติต่างๆ ในเรื่องการเข้าร่วมความพยายามขจัดนิวเคลียร์ พร้อมทั้งเล่าถึงกรณีของ ‘ประเทศญี่ปุ่น’ ที่ต้องเผชิญเหตุผลสุดโต่งทั้งสองด้าน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

17 Feb 2021

Asia

27 Dec 2020

เพื่อจักรพรรดิยังยืนยง ยามอัสดงแดนอาทิตย์อุทัย

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงกระบวนการที่ทำให้สถาบันจักรพรรดิอันเก่าแก่และอนุรักษนิยม คงอยู่ได้กับระบอบประชาธิปไตยซึ่งกลายเป็นแก่นคุณค่าใหม่ในสังคมญี่ปุ่นและในสากลโลกในยุคหลังสงคราม พร้อมทั้งสำรวจสถานะและบทบาทที่คลุมเครือของสถาบัน อันเกิดจากความพยายามประนีประนอมและ ‘หลอมรวมแบบญี่ปุ่น’

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

27 Dec 2020

Asia

13 Oct 2020

เมื่อญี่ปุ่นเริ่มขบคิดเรื่องการติดอาวุธจู่โจม

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนอ่านเรื่องการติดอาวุธจู่โจม (strike capability) ในญี่ปุ่น – อะไรคือข้อจำกัดที่ทำให้ญี่ปุ่นไม่อาจคิดที่จะมีสมรรถนะด้านนี้มาก่อน และปัจจัยใดที่ทำให้ญี่ปุ่นเริ่มมองเรื่องการติดอาวุธจู่โจมเป็นตัวเลือกเชิงยุทธศาสตร์ในเวลานี้

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

13 Oct 2020

Asia

18 Aug 2020

รำลึกสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง – ฉลองวาทกรรมความเป็นเหยื่อ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์การใช้การตีความอดีตเป็นเครื่องมือในเกมอำนาจในภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะการใช้ ‘วาทกรรมความเป็นเหยื่อ’ หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในฐานะต้นทุนเพื่อสร้างความชอบธรรมในทางการเมืองและการต่างประเทศ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

18 Aug 2020

Issue of the Age

16 Jun 2020

โควิดและโอกาสของญี่ปุ่นในยุทธศาสตร์ความมั่นคง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์โอกาสด้านยุทธศาสตร์ที่ญี่ปุ่นอาจหยิบฉวยในช่วงโควิดผ่านมุมมอง 3 ด้าน ซึ่งช่วยให้เห็นแนวโน้มปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐมหาอำนาจหลักและรองในเอเชีย ตลอดจนระเบียบของภูมิภาคที่จะดำเนินต่อไปในระยะยาว

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

16 Jun 2020

Issue of the Age

16 Apr 2020

โอลิมปิกแห่งโชคชะตา : จากฮิโรชิม่า ฟุคุชิม่า สู่ไวรัสโคโรนา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงความสำคัญและความหมายของโตเกียวโอลิมปิก 2020 ต่อญี่ปุ่น และทางแพร่งที่รัฐบาลต้องตัดสินใจในการเลื่อนจัดโอลิมปิกออกไป

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

16 Apr 2020

China

18 Feb 2020

เกมการบั่นคลอนสถานะ : อีกหนึ่งแนวปะทะสองฝั่งฟากช่องแคบไต้หวัน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนอ่านเกมการ ‘บั่นคลอน’ สถานะของจีนและไต้หวันบนเวทีระหว่างประเทศ พร้อมทั้งหาคำตอบว่าการแข่งขันดังกล่าวเป็นแนวหน้าที่สำคัญอย่างไร และทั้งสองฝั่งใช้กลยุทธ์อะไรเพื่อต่อกรกัน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

18 Feb 2020

Global Affairs

17 Sep 2019

ความน่าเชื่อถือและชื่อเสียงในทะเลจีนใต้ : หมากสำคัญในเกมมหาอำนาจ จีน-สหรัฐฯ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ของจีน-สหรัฐฯ เหนือทะเลจีนใต้ อันเป็นหนึ่งในหมากสำคัญของการช่วงชิงความเป็นมหาอำนาจโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

17 Sep 2019
1 2

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save