fbpx

World

26 Mar 2019

อินเดียกับการเลือกตั้งในระบอบรัฐสภาที่ใหญ่ที่สุดในโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์กระแสช่วงโค้งสุดท้ายของการเลือกตั้งอินเดีย ซึ่งมี ‘บิ๊กเซอร์ไพรส์’ ให้เห็นเป็นระยะ และยังไม่มีใครกล้าฟันธงว่า สุดท้ายแล้วผลจะออกมาอย่างไร

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2019

Asia

1 Mar 2019

ความตึงเครียดระลอกใหม่ของอินเดีย-ปากีสถาน : ลำดับเหตุการณ์และสิ่งที่ต้องจับตามอง

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์ความขัดแย้งระลอกล่าสุดระหว่างอินเดีย-ปากีสถาน ตั้งแต่ชนวนของปัญหา บทบาทท่าทีของประเทศยักษ์ใหญ่ และสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

1 Mar 2019

Asia

21 Feb 2019

ราหุล คานธี กับพรรคคองเกรส และกลยุทธ์ในศึกเลือกตั้งอินเดีย 2019

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงพรรคคองเกรสภายใต้การนำของ ‘ราหุล คานธี’ ลูกชายของนายราจีฟ คานธี ซึ่งมีโอกาสกลับมาเป็นรัฐบาลอีกครั้งในการเลือกตั้งที่กำลังมาถึง

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

21 Feb 2019

Asia

15 Jan 2019

ถอดรหัสบทสัมภาษณ์นายกรัฐมนตรีอินเดีย ก่อนสู้ศึกเลือกตั้ง 2019

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์การให้สัมภาษณ์ของ นเรนทรา โมดี นายกรัฐมนตรีอินเดีย เมื่อวันที่ 1 มกราคมที่ผ่านมา ซึ่งถูกตั้งข้อสังเกตว่า เป็นการพีอาร์ตัวเองเพื่อปูทางสู่การเลือกตั้ง มากกว่าการถามตอบข้อสงสัยที่สังคมอยากรู้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

15 Jan 2019

World

19 Dec 2018

หมดยุคร้องเพลงวิ่งข้ามเขา หนังอินเดียแบบเก่ากำลังเปลี่ยน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ‘หนังอินเดีย’ ยุคใหม่ ที่ไม่ได้มีแค่การวิ่งข้ามภูเขาและเต้นรำทำเพลงอีกต่อไป ทว่าเป็นกลไกสำคัญในการวิพากษ์วิจารณ์และเปลี่ยนแปลงสังคม ไปจนถึงการสร้างภาพลักษณ์ใหม่ๆ ให้แก่ประเทศ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

19 Dec 2018

World

27 Nov 2018

อนุสาวรีย์ที่สูงที่สุดในโลก ภาพหวังความเป็นหนึ่งเดียวของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ‘The Statue of Unity’ อนุสาวรีย์ที่สูงที่สุดในโลกอันใหม่ พร้อมอ่านนัยยะทางการเมืองทั้งภายในและระหว่างประเทศของอินเดียที่มาพร้อมกับอนุสาวรีย์

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

27 Nov 2018

World

29 Oct 2018

เมื่อภูฏานหันซ้าย ในการเลือกตั้งครั้งที่ 3

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงการเลือกตั้งครั้งล่าสุดของภูฏาน ซึ่งจบลงด้วยการขึ้นสู่อำนาจของพรรคฝ่ายซ้ายสังคมนิยมประชาธิปไตย พร้อมวิเคราะห์ความท้าทายทางการเมืองทั้งภายในและภายนอกที่รัฐบาลใหม่ต้องเผชิญ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

29 Oct 2018

World

1 Oct 2018

แหวกม่านวัฒนธรรม ส่องสถานภาพสตรีในสังคมอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก สำรวจที่มาที่ไปของ ‘สังคมชายเป็นใหญ่’ ในอินเดีย ที่ได้รับอิทธิพลสำคัญมาจากมหากาพย์อันเลื่องชื่อ พร้อมฉายภาพปัจจุบันที่ภาวะดังกล่าวเริ่มสั่นคลอน โดยมีหมุดหมายสำคัญจากการที่ อินทิรา คานธี ได้รับเลือกให้เป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกในประวัติศาสตร์

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

1 Oct 2018

World

28 Aug 2018

‘Leh Ladakh’ จากสมรภูมิสู่แหล่งท่องเที่ยวระดับโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงประวัติศาสตร์ของ ‘Lek Ladakh’ แหล่งท่องเที่ยวสำคัญของอินเดีย ซึ่งเคยเป็นสมรภูมิความขัดแย้ง 3 ฝ่าย คือจีน อินเดีย และปากีสถาน ก่อนจะพบจุดเปลี่ยนผ่านสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

28 Aug 2018

World

15 Aug 2018

โมดี และอนาคตของกระแสนิยมขวาจัดในอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสำเร็จของ ‘นเรนทรา โมดี’ และพรรคบีเจพีของอินเดีย พรรคชาตินิยมขวาจัดซึ่งชนะเลือกตั้งแบบพลิกโผในปี 2014 พร้อมประเมินผลงานที่ผ่านมา ซึ่งอาจมีผลต่อการเลือกตั้งครั้งใหม่ในปี 2019

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

15 Aug 2018

Asia

30 Jun 2017

One Belt One Road อินเดียคิดยังไงกับอิทธิพลจีนในเอเชียใต้

ยุทธศาสตร์ ‘One Belt One Road’ หรือเส้นทางสายไหมในศตวรรษที่ 21 ของจีน มีภูมิภาคเอเชียใต้เป็นหนึ่งในหมุดหมายสำคัญ ทว่าด่านหินที่จีนต้องผ่านไปให้ได้นั้น ก็คืออินเดียซึ่งเป็น ‘พี่เบิ้ม’ แห่งภมูิภาค การเดินหมากของทั้งสองประเทศเป็นอย่างไร และมีวาระอะไรที่ซ๋อนเร้นอยู่บ้าง
บทความนี้มีคำตอบ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

30 Jun 2017
1 5 6

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save