fbpx

Latin America

5 Sep 2022

รู้จัก ‘กลุ่มพันธมิตรแปซิฟิก’ – เมื่อลาตินอเมริกาอยากเชื่อมความสัมพันธ์ทางการค้ากับเอเชียแปซิฟิก

เชาวฤทธิ์ เชาวแสงรัตน์ เขียนถึงการรวมกลุ่มเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศลาตินอเมริกาในนาม ‘กลุ่มพันธมิตรแปซิฟิก’ ซึ่งเน้นสานสัมพันธ์การค้ากับเอเชียแปซิฟิก

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

5 Sep 2022

City

1 Sep 2022

ชะตากรรมของศาลากลางหลังเก่าสะท้อนอะไร

คอลัมน์ ‘ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ’ เดือนนี้ ณัฐกร วิทิตานนท์ เขียนถึงการเปลี่ยนแปลงของศาลากลางจังหวัด ที่พัฒนาหลายยุคหลายสมัย แต่สร้างคำถามถึงประโยชน์ใช้สอยที่ตอบโจทย์ต่อประชาชน

ณัฐกร วิทิตานนท์

1 Sep 2022

Lifestyle

30 Aug 2022

Agony Uncle* Hema ลุงเฮม่าตอบปัญหา: ว่าด้วยศิลปินแสดงจุดยืนทางการเมือง แชตส่วนตัว และใส่ขาสั้นห้ามเข้าโรงแรมห้าดาว

ลุงเฮม่าตอบปัญหาว่าด้วย ศิลปินดังแสดงความคิดเห็นทางการเมือง การแบ่งปันแชตส่วนตัวในพื้นที่สาธารณะ และดราม่าดาราใส่รองเท้าแตะไปโรงแรมห้าดาว

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์

30 Aug 2022

Europe

30 Aug 2022

ส.ส. อังกฤษสอบตกเพราะแก้ปัญหาหนี้สินการศึกษาให้ประชาชนไม่ได้

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงกรณี ส.ส. อังกฤษแพ้เลือกตั้ง เพราะไม่สามารถรักษาสัญญาแก้ไขปัญหาหนี้สินการศึกษาให้กับประชาชนได้

สมชัย สุวรรณบรรณ

30 Aug 2022

Curious Economist

29 Aug 2022

คนรุ่นใหม่เปลี่ยนงานบ่อยไปหรือเปล่า?

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ชวนมองปรากฏการณ์การเปลี่ยนงานบ่อยในกลุ่มคนรุ่นใหม่ พร้อมวิเคราะห์นัยที่มีต่อสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

29 Aug 2022

Life & Culture

29 Aug 2022

เซอร์เวนา ซเวซดา vs ปาร์ติซาน เบลเกรด : การต่อสู้ระหว่างคอมมิวนิสต์และเผด็จการทหารในเซอร์เบีย

คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ ว่าด้วยเรื่องราวของสองสโมสรใน ‘เบลเกรด’เมืองหลวงของเซอร์เบีย ที่ทุกการเจอกันถูกเรียกในอีกชื่อว่า ‘เฮลเกรด’ เพราะเกิดจลาจลบ่อยครั้ง

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

29 Aug 2022

Life & Culture

29 Aug 2022

‘เรื่องโป๊และตำราเพศ’ ในสมุดจดปกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2477

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เปิดกรุสมุดจดปกลายรัฐธรรมนูญยุค 2477 ที่ดูเหมือนจะไม่มีอะไร กลับกลายเป็นหนังสือโป๊และตำรากามสูตรที่ ‘แซ่บ’ ถึงใจ ควรค่าแก่การศึกษา

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

29 Aug 2022

Asean

23 Aug 2022

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับผู้แพ้ (1): มรดกตกค้างจากยุคอาณานิคม?

ณภัค เสรีรักษ์ เปิดซีรีส์ ‘ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับผู้แพ้’ เล่าเรื่องราวของขบวนการต่อต้านอำนาจ/แบ่งแยกดินแดนที่ไม่ประสบความสำเร็จ

ณภัค เสรีรักษ์

23 Aug 2022

Economy

22 Aug 2022

บัตรคนจนที่ไปไม่ถึงคนจน

วรรณพงษ์ ดรงคเวโรจน์ เขียนถึงปัญหาการตกหล่นของ ‘บัตรคนจน’ และข้อถกเถียงว่าด้วยการลดความยากจนกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์

22 Aug 2022

World

21 Aug 2022

การคลี่คลายของสถาบันครอบครัวในสแกนดิเนเวีย

สำรวจสถาบันครอบครัวในสแกนดิเนเวียที่มีลักษณะเฉพาะตัวบางประการ ทำให้มีลักษณะคลี่คลายตนเองได้มากกว่าสถาบันครอบครัวในภูมิประเทศอื่นๆ ชวนอ่านคอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ โดย ปรีดี หงษ์สต้น ว่าด้วยรากฐานการก่อร่างสร้างสถาบันครอบครัวในแถบนอร์ดิค

ปรีดี หงษ์สต้น

21 Aug 2022

World

19 Aug 2022

17 ปีสันติภาพที่อาเจะห์: สำรวจมุมมองและท่าทีของฝ่ายต่างๆ  

วันที่ 15 สิงหาคมที่ผ่านมา คือวันครบรอบ 17 ปีสันติภาพที่อาเจะห์หลังรัฐบาลอินโดนีเซียและขบวนการอาเจะห์เอกราชตัดสินใจยุติความรุนแรงที่เกิดขึ้นมานานร่วมสามทศวรรษ อย่างไรก็ตาม ยังมีหลายฝ่ายที่มองว่าประวัติศาสตร์จะยังไม่ได้รับการชำระให้เรียบร้อยตราบใดที่เหยื่อจากความรุนแรงที่เกิดขึ้นยังไม่ได้รับการถูกพูดถึง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

19 Aug 2022

Social Issues

18 Aug 2022

ระเบิดเวลา ‘Learning Loss’ เปิดงานวิจัย-หาทางออกวิกฤตเด็กไทยกับภาวะการเรียนรู้ถดถอย

จากการเก็บข้อมูลความพร้อมในการเข้าสู่การเรียนภาคบังคับของเด็กปฐมวัย (school readiness) ทำให้พบว่าช่วงโควิด-19 ทำให้เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (learning loss)
คำถามสำคัญก็คือเราจะหาทางฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ที่เกิดจากช่วงโรคระบาดนี้ได้อย่างไร?

กาญจนา ปลอดกรรม

18 Aug 2022
1 2 3 38

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save