fbpx

World

20 Jan 2022

จับตาอนาคตไทยและโลก 2022 : จีน-สหรัฐ เดิมพันใหญ่ – ความหวังกลางวิกฤตเงินเฟ้อ – สมรภูมิเดือดเลือกตั้งไทย

เปิดวง Round Table ชวนสนทนาจับตาอนาคตไทยและโลกปี 2022 กับ อาร์ม ตั้งนิรันดร – ประจักษ์ ก้องกีรติ และพิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

กองบรรณาธิการ

20 Jan 2022

World

19 Jan 2022

World 2022 and Beyond: ‘แผนที่ใหม่’ ของเกมการเมืองโลกบนระเบียบโลกสองขั้วอำนาจ

ในวันที่โลกกำลังก้าวสู่จุดเปลี่ยนอีกครั้งในปี 2022 จิตติภัทร พูนขำ ฉายภาพความเปลี่ยนแปลงของ ‘แผนที่ใหม่’ ในเกมการเมืองโลกบนระเบียบโลกที่กำลังหวนคืนสู่ระบบสองขั้วอำนาจอีกครั้งและกำลังขยับขยายปริมณฑลการขับเคี่ยวไปสู่สนามเทคโนโลยี และสนามระบบคุณค่า มองความท้าทายจาก ‘การเปลี่ยนผ่านครั้งใหญ่’ ในมิติเชิงอำนาจ โลกทัศน์ โรคระบาด และพลังงานที่โลกจะต้องเผชิญ พร้อมทั้งมองยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยท่ามกลางกระแสลมแห่งการเปลี่ยนผ่าน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

19 Jan 2022

Projects

30 Dec 2021

โลกการศึกษา 2021: สอบภาคปฏิบัติวิชา ‘ความเสมอภาคทางการศึกษา’

101 ชวนคุณร่วมสอบภาคปฏิบัติวิชา ‘ความเสมอภาคทางการศึกษา’ ในปี 2021 ร่วมไขโจทย์ว่าจะแก้โจทย์ภาวะสูญเสียการเรียนรู้ได้อย่างไรบ้าง และอะไรคือทักษะที่ต้องโลกใหม่ต้องการ

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

30 Dec 2021

World

21 Dec 2021

From Syria to Belarus วิกฤตผู้อพยพลี้ภัยซ้ำสอง ใจกลางการเมืองโลก

ทำไมเบลารุสจึงกลายเป็นเส้นทางอพยพสู่สหภาพยุโรป? นี่คือการใช้ผู้อพยพเล่นการเมืองในเกมต่อรองของเบลารุสต่อสหภาพยุโรปหรือไม่? ทำไมเบลารุสต้องเดินเกมการเมืองเช่นนี้? สหภาพยุโรปมีท่าทีอย่างไร? การเมืองยุโรป-รัสเซียเปลี่ยนไปแค่ไหน? แล้วผู้อพยพอยู่ตรงไหนของวิกฤต? ร่วมถอดรหัส ‘วิกฤตผู้อพยพเบลารุส’ ผ่านทัศนะของ ณัฐนันท์ คุณมาศ, จิตติภัทร พูนขำ และภาณุภัทร จิตเที่ยง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

21 Dec 2021

อะไรก็ 'ช่าง'

9 Dec 2021

งบน้อย ครูไม่พอ เปลี่ยนภาพจำแง่ลบเด็กอาชีวะฯ: เปิดโลก ‘ครูสายอาชีพ’ ที่ยังสอนอยู่บนข้อจำกัด

ในวันที่การศึกษาสายอาชีพคือความหวังในการพาประเทศก้าวต่อไปข้างหน้า 101 สนทนากับ 2 ครูอาชีวะ ผู้เป็นเบื้องหลังสำคัญในการพัฒนาบุคลากรวิชาชีพที่มีทักษะและความชำนาญเฉพาะทาง ว่าด้วยโลกการเรียนการสอนสายอาชีพ การถ่ายทอดทักษะความชำนาญจากครูสู่ศิษย์ คุณภาพการเรียนการสอน และภาพฝันของอาชีวศึกษา จากมุมมองของ ‘ครู’

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

9 Dec 2021

Education

30 Nov 2021

เมื่อการปฏิรูปการศึกษานำไปสู่ความเหลื่อมล้ำ?: มองการศึกษาไทยบนถนนสายเสรีนิยมใหม่ กับ วงอร พัวพันสวัสดิ์

ในวันที่การศึกษาดูเหมือนจะเดินออกห่างจากปลายทางที่แท้จริง 101 ชวน อ.ดร.วงอร พัวพันสวัสดิ์ มองเบื้องหลังปรากฏการณ์ที่ตามมาจากการปฏิรูปการศึกษาผ่าน พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติปี 2542 ด้วยเลนส์เสรีนิยมใหม่ ตั้งแต่ความเปลี่ยนแปลงและผลข้างเคียงในนาม ‘ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา’ ทั้งระดับโครงสร้างและระดับห้องเรียน ไปจนถึงหนทางในการพาการศึกษาไทยกลับสู่เส้นทางสู่การเรียนรู้อย่างเสมอหน้าอีกครั้ง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

30 Nov 2021

World

19 Nov 2021

มหา’ลัยมีไว้ทำไม: เสรีภาพทางวิชาการโลก รอดได้อย่างไรในห้วงวิกฤต

เสรีภาพทางวิชาการดำรงอยู่ได้อย่างไรในห้วงเวลาที่เช่นนี้? 101 ชวนย้อนตั้งคำถามว่าอะไรคือความหวัง ในวันที่หลักเสรีภาพวิชาการทั่วโลกกำลังถูกท้าย

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

19 Nov 2021

Media

12 Nov 2021

เปิดเครื่องเนิร์ด Ep.10 : จะเป็นอย่างไรถ้าไทยหิมะตก?

หนาวนี้กอดใคร หนาวถึงขั้นหิมะตกได้ไหม อยากลอง! ‘เปิดเครื่องเนิร์ด’ ตอนสุดท้ายของซีซัน 2021 มากับความฝันที่สักวันประเทศไทยจะมีหิมะ!

กองบรรณาธิการ

12 Nov 2021

ต้องรอด!

29 Oct 2021

“หน้าที่ของรัฐศาสตร์ คือการทำให้สังคมรู้เท่าทันอำนาจ” ประจักษ์ ก้องกีรติ

ในวันที่โลกยังตั้งคำถามว่าอะไรคือการปกครองที่ดีและยังพยายามหาคำตอบอยู่ 101 สนทนากับ ประจักษ์ ก้องกีรติ เกี่ยวกับขอบฟ้าโลกความรู้การเมือง พลังอำนาจของความรู้เรื่องการเมือง และการเรียนการสอนการเมืองการปกครองในวันที่ทั่วโลกตกอยู่ในภาวะประชาธิปไตยถดถอย

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

29 Oct 2021

World

28 Oct 2021

Exit from the EU?: กระแสออกจากสหภาพยุโรปหายไปไหน

กระแสออกจากสหภาพยุโรปหายไปไหน? พรรคฝ่ายขวาสุดโต่งเหล่านี้ต้องการพาประเทศออกจากสหภาพยุโรปจริงหรือไม่ หรือเพียงแค่ต้องมนต์เบร็กซิตละเมอฝันไปชั่วขณะหนึ่งเท่านั้น? 101 สำรวจกระแสต่อต้านสหภาพยุโรปในหมู่พรรคการเมืองฝ่ายขวาประชานิยมในวันที่กระแสถอนตัวออกจากสหภาพยุโรปเงียบเสียงลง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 Oct 2021

Media

15 Oct 2021

เปิดเครื่องเนิร์ด Ep.9 : มนุษย์จะกินทุกอย่างบนโลกไม่ได้! …หรือได้?

อาหารแบบนี้คุณพี่ก็กินเหรอเนี่ย?! มาร่วมเปิดประสบการณ์ผ่าน ‘เปิดเครื่องเนิร์ด’ ตอนใหม่ ที่จะพาคุณไปสำรวจเมนูแปลก แซ่บ เด็ด จากทั่วโลก!

กองบรรณาธิการ

15 Oct 2021

Politics

6 Oct 2021

ประวัติศาสตร์หลัง 6 ตุลาฯ: “สังคมต้องจดจำขบวนการประชาชนที่กล้าหาญอย่างมากทางความคิด” – ธิกานต์ ศรีนารา

ในวาระครบรอบ 45 ปี ‘6 ตุลา 2519’ 101 ชวน ธิกานต์ ศรีนารา สนทนาว่าด้วยช่วงเวลาที่ทอดยาวหลังจากการล้อมปราบสังหารหมู่นักศึกษา เมื่อกระแสความคิดฝ่ายซ้ายแบบพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) ส่งอิทธิพลต่ออุดมคติและความหวังของคนรุ่นใหม่ยุคเดือนตุลา มรดกจากยุค ‘หลัง 6 ตุลาฯ’ ที่ยังประจักษ์ชัดอยู่ในการเมืองไทย กระแสธารความคิดที่ฝ่ายซ้ายไทยฝากไว้ และเรื่องราวที่ยังไม่สิ้นสุดในการต่อกรต่ออำนาจรัฐของขบวนการประชาชน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

6 Oct 2021
1 5 6 7 12

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save