fbpx

World

4 Oct 2022

‘After Elizabeth’ สหราชอาณาจักรในสายลมแห่งการเปลี่ยนผ่าน กับ พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง

ในช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนผ่าน 101 ชวน พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง สนทนาและวิเคราะห์บทบาทและมรดกจากยุคสมัยของควีนเอลิซาเบธที่ 2 วิถีการดำรงอยู่ของสถาบันกษัตริย์อังกฤษในโลกสมัยใหม่ กระแสสาธารณรัฐนิยมในอังกฤษ ความเป็นไปได้ในการแยกตัวออกจากสหราชอาณาจักรของสกอตแลนด์และไอร์แลนด์เหนือ ไปจนถึงทางออกจากยุคสมัย ‘ขาลง’ ของสหราชอาณาจักร

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

4 Oct 2022

Europe

19 Sep 2022

Train «Kyiv–War» ความหวังสู่ ‘สันติภาพ’ บนเส้นทางสู่ ‘สงคราม’

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล เขียนถึงสารคดี Train «Kyiv–War» สารคดีที่บันทึกห้วงความคิดและความหวังของชาวยูเครนต่อสงครามดอนบาสในภาคตะวันออกของยูเครน บนขบวนรถไฟที่มุ่งหน้าสู่สงคราม

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

19 Sep 2022

Social Issues

16 Sep 2022

‘การศึกษาไทยในวันที่โรงเรียนไร้อำนาจ’ – กระจายอำนาจการศึกษาคืนสู่โรงเรียน กับ สุกรี นาคแย้ม

101 สนทนากับ สุกรี นาคแย้ม ว่าด้วยโครงสร้างระบบการจัดการบริหารระบบการศึกษาอันเป็นเหตุให้โรงเรียนไม่มีอำนาจอย่างแท้จริง และแนวทางในการกระจายอำนาจการศึกษาที่ทำให้การศึกษาเจริญงอกงามได้อย่างยั่งยืนและทั่วถึง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

16 Sep 2022

Media

8 Sep 2022

เปิดเครื่องเนิร์ด ซีซั่น 2 Ep.8 : ทำไมขนมครกสิงคโปร์ไม่มีที่สิงคโปร์ (และอื่นๆ อีกมากมาย)?

เคยสงสัยไหม มนุษย์คิดอะไรตอนตั้งชื่ออาหารตามสถานที่? ทำไมเรียกชื่ออาหารตามที่นี่ แต่ไม่มีที่นั่น เรียกชื่อตามที่นั่น แต่ไม่มีที่นี่ เรียกขนมครกสิงคโปร์แต่ไม่ใช่ของสิงคโปร์ เรียกขนมโตเกียวแต่ไม่มีที่โตเกียว (และอื่นๆ อีกมากมาย) แล้วมันมาจากไหนกันแน่ (วะ) เนี่ย ‘เปิดเครื่องเนิร์ด’ ตอนนี้จะพาคุณชวนชิมสารพัดเมนูที่เหมือนจะมีรอบโลก แต่ดันไม่มีซะงั้น!?

กองบรรณาธิการ

8 Sep 2022

Kid For Kids

26 Aug 2022

101 In Focus Ep.143: ตั้งหลักใหม่ ‘นโยบายเด็กและครอบครัว’

101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนคุณร่วมตั้งหลักใหม่ ‘นโยบายเด็กและเยาวชน’ ทำไมนโยบายเด็กและครอบครัวจึงเป็นหนึ่งในหลักสำคัญในการพัฒนาประเทศ? ท่ามกลางวิกฤตโควิด-19 วิกฤตความเหลื่อมล้ำ-การพัฒนา และวิกฤตสังคม-การเมืองที่ทอดเงาทาบทับและท้าทายชีวิตของพวกเขาตลอดช่วงปี 2021-2022 เด็ก เยาวชน และครอบครัวไทยอยู่อย่างไร? ต้องเผชิญกับอะไรบ้าง และอะไรคือข้อเสนอในการ ‘ตั้งหลักใหม่’ ออกแบบนโยบายเด็กและครอบครัวที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในโลก

กองบรรณาธิการ

26 Aug 2022

Social Issues

24 Aug 2022

เติมความเป็นมนุษย์ให้กระบวนการยุติธรรม ด้วย ‘กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์’ กับ อุกฤษฏ์ ศรพรหม

อนาคตของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในไทยควรมีทิศทางอย่างไรต่อ? 101 สนทนากับ อุกฤษฏ์ ศรพรหม ผู้จัดการโครงการและนักวิจัยด้านกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) ว่าด้วยหลักคิดของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ เส้นทางของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในไทย และแนวทางการปรับใช้และพัฒนาหลักดังกล่าวให้บรรลุผลอย่างแท้จริง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

24 Aug 2022

Media

11 Aug 2022

เปิดเครื่องเนิร์ด ซีซั่น 2 Ep.7 : แง้ววว ทำไมแมวแปลก?

เหล่าทาสแมวทั้งหลาย ท่านเคยประสบปัญหาไม่เข้าใจความแปลกของเจ้านายขนนุ่มฟูบ้างไหม? ถ้าอยากจะเข้าใจละก็ ไป ‘เปิดเครื่องเนิร์ด’ ตอนใหม่ฟังกันเลย!

กองบรรณาธิการ

11 Aug 2022

Life & Culture

2 Aug 2022

มนต์เสน่ห์ของประวัติศาสตร์ คือการถกเถียงกับอดีตไม่รู้จบ: ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

ในวันที่โลกเรียกร้องการทำความเข้าใจมนุษย์และสังคมมากกว่าที่เคย ทิศทางการศึกษาประวัติศาสตร์กำลังมุ่งไปทางไหน? หนทางใดที่นักประวัติศาสตร์จะเปิดคำอธิบายใหม่ๆ เพื่อเข้าใจความเป็นมนุษย์ได้มากยิ่งขึ้น? การเรียนการสอนประวัติศาสตร์ต้องปรับเปลี่ยนอย่างไร? และวงการประวัติศาสตร์จะเดินหน้าต่อไปในอนาคตได้อย่างไร? 101 สนทนากับ ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ในประเด็น ‘ประวัติศาสตร์ต้องรอด!’

กองบรรณาธิการ

2 Aug 2022

TIJ x 101

28 Jul 2022

โอกาสสถาน: ออกแบบโอกาส-สร้างพื้นที่ความเข้าใจผู้ต้องขังหญิง กับทีมสถาปัตย์ ม.กรุงเทพ

101 สนทนากับทีมโอกาสสถาน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ว่าด้วยเบื้องหลังความคิดในการ ‘ออกแบบ’ โอกาสและความเข้าใจต่อผู้ต้องขังหญิง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 Jul 2022

Media

21 Jul 2022

เปิดเครื่องเนิร์ด ซีซั่น 2 Ep.6 : ทำไมมนุษย์ถึงไม่จำศีล?

อยากนอนยาวสักสามเดือน! ทำไมมนุษย์ไม่มีช่วงเวลาจำศีลกันบ้าง! คับข้องใจไม่ไหว ไป ‘เปิดเครื่องเนิร์ด’ ตอนใหม่ฟังให้รู้กันไปเลย!

กองบรรณาธิการ

21 Jul 2022

Media

15 Jul 2022

101 In Focus Ep.137: สิ้นอาเบะ สะเทือนญี่ปุ่น?: ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอดีตนายกฯ อาเบะ

สรุปการลอบสังหารมีเหตุจากอะไร? หน้าสื่อญี่ปุ่นเสนอความคืบหน้าในการสืบสวนไว้อย่างไรบ้าง? สังคมจะจดจำอาเบะอย่างไร? การเมืองญี่ปุ่นภายใต้รัฐบาลคิชิดะจะเปลี่ยนไปอย่างไร? อะไรคือความท้าทายที่รัฐบาลพรรค LDP ภายใต้การนำของคิชิดะต้องเผชิญเมื่อปราศจากอิทธิพลอาเบะ? แนวทางการต่างประเทศสายแข็งแบบอาเบะจะเปลี่ยนไปหรือไม่? 101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนมอง ‘ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอาเบะ’ 

กองบรรณาธิการ

15 Jul 2022

World

13 Jul 2022

สิ้นอาเบะ สะเทือนญี่ปุ่น?: ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอดีตนายกฯ อาเบะ

การลอบสังหารผู้นำทางการเมืองมีเหตุจากอะไร? เกิดจากแรงจูงใจทางการเมืองหรือความไม่พอใจส่วนตัว? อะไรคือความท้าทายที่รัฐบาลพรรค LDP ภายใต้การนำของคิชิดะต้องเผชิญเมื่อปราศจากอิทธิพลอาเบะ? แนวทางการต่างประเทศสายแข็งแบบอาเบะจะเปลี่ยนไปหรือไม่? 101 ชวนมอง ‘ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอาเบะ’ ผ่านการวิเคราะห์ของ นภดล ชาติประเสริฐ และกิตติ ประเสริฐสุข สองนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญด้านญี่ปุ่นศึกษา

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

13 Jul 2022
1 2 3 11

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save