fbpx

Global Affairs

1 Sep 2017

“กับดักธูสิดีดิส” แห่งศตวรรษที่ 21 : การเปลี่ยนผ่านอำนาจโลกอย่าง(ไร้)สันติ? 

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์หนึ่งในโจทย์สำคัญที่สุดของระเบียบโลกในศตวรรษที่ 21 – สหรัฐฯ และจีนจะก้าวข้าม “กับดักธูสิดีดิส” จนเกิดการเปลี่ยนผ่านอำนาจโลกอย่างสันติได้หรือไม่

จิตติภัทร พูนขำ

1 Sep 2017

Global Affairs

28 Jul 2017

อ่านนอกกล่อง : ทำไม E.H. Carr จึงไม่ใช่นักทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแนวสภาพจริงนิยม(แบบที่เรามักเข้าใจ)?

จิตติภัทร พูนขำ ชวนอ่าน E.H. Carr ผู้ถูกขนานนามว่าเป็นเจ้าพ่อ “สภาพจริงนิยม” ในวงวิชาการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และผลงานคลาสสิก The Twenty Years’ Crisis, 1919-1939 ด้วยมุมมองใหม่แบบทฤษฎีวิพากษ์ แล้วคุณจะพบว่าเขาเป็นทั้ง realist, critical theorist และ historian แบบมิอาจปักป้ายจัดประเภทลงกล่องแบบสำเร็จรูปได้

จิตติภัทร พูนขำ

28 Jul 2017

World

30 Jun 2017

สหราชอาณาจักรในกระบวนการ Brexit: จากวิกฤตความชอบธรรมสู่วิกฤตอัตลักษณ์แห่งชาติ?

จิตติภัทร พูนขำ สำรวจสถานการณ์ 1 ปี หลังจากสหราชอาณาจักรลงมติแยกตัวออกจากสหภาพยุโรป 1 ปีผ่านไป สหราชอาณาจักรเผชิญทั้ง ‘วิกฤตความชอบธรรมของรัฐบาล’ และ ‘วิกฤตอัตลักษณ์แห่งชาติ’ อย่างหนักหน่วง กระบวนการ Brexit อีกสองปีจากนี้จะเดินหน้าอย่างไรท่ามกลางวิกฤตคู่

จิตติภัทร พูนขำ

30 Jun 2017

Global Affairs

26 May 2017

เส้นทางสายไหมใหม่: ภูมิรัฐศาสตร์มหาเกมในยูเรเชีย

“เส้นทางสายไหมใหม่” ไม่ใช่แค่เรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานเท่านั้น จิตติภัทร พูนขำ สวมแว่น “ภูมิรัฐศาสตร์โลก” เพื่อวิเคราะห์เส้นทางสายไหมใหม่ในฐานะการแข่งขันระหว่างมหาอำนาจระดับโลก ทั้งสหรัฐอเมริกาและจีน ในกระดาน “มหาเกม” (great game) แห่งยูเรเชีย

จิตติภัทร พูนขำ

26 May 2017

Global Affairs

28 Apr 2017

ความสัมพันธ์สหรัฐฯ และรัสเซีย: ข้าม(ไม่)พ้น ความตึงเครียดร้าวลึก?

“รัสเซีย” เป็นหนึ่งในประเด็นด้านการเมืองและนโยบายต่างประเทศที่ร้อนแรงที่สุดในยุคโดนัลด์ ทรัมป์

ตั้งแต่การแฮกอีเมลพรรคเดโมแครต ข้อครหาเรื่องการแทรกแซงการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ จนทำให้ทรัมป์ได้รับชัยชนะ วาทศิลป์ช่วงหาเสียงของทรัมป์ที่ดูเหมือนจะ “นิยมปูติน” เกินงาม จนถึงการโจมตีทางอากาศของสหรัฐฯ ต่อซีเรีย พันธมิตรสำคัญของรัสเซีย

อนาคตความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย จะเดินต่อไปบนเส้นทางใด ผู้นำอย่างทรัมป์และปูตินจะจับมือก้าวข้ามความตึงเครียดร้าวลึกที่คุกรุ่นตั้งแต่หลังสงครามเย็นได้หรือไม่

จิตติภัทร พูนขำ เล่าเบื้องลึกเบื้องหลังและที่มาที่ไปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย ใครอยากเข้าใจปมความขัดแย้งระหว่างสองประเทศ พลาดไม่ได้!

จิตติภัทร พูนขำ

28 Apr 2017

World

31 Mar 2017

ประชานิยมในยุโรป: อเสรีนิยม VS เสรีนิยม(ใหม่)ที่ไร้ประชาธิปไตย

จิตติภัทร พูนขำ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิเคราะห์กระแสประชานิยมในยุโรป ประชานิยมเป็นปีศาจร้ายตัวใหม่ หรือมันช่วยเปิดประเด็นให้เรามองเห็นอะไรชัดขึ้น

ประชานิยมเป็นคำตอบของวิกฤตเสรีนิยมใหม่หรือไม่ ถ้าไม่ใช่ อะไรคือคำตอบที่ควรจะเป็น

จิตติภัทร พูนขำ

31 Mar 2017
1 2 3

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save