fbpx

World

28 Sep 2018

ประเมินนโยบายต่างประเทศของทรัมป์ ผ่านแว่นตา ‘สภาพจริงนิยม’

จิตติภัทร พูนขำ สังเคราะห์นโยบายต่างประเทศของโดนัลด์ ทรัมป์ผ่านแว่นตา ‘สภาพจริงนิยม’ ซึ่งเชื่อว่าแนวนโยบายนี้ตอบโจทย์ความเปลี่ยนแปลงในโลกจริงได้ดีกว่านโยบายแบบเดิมๆ

จิตติภัทร พูนขำ

28 Sep 2018

World

31 Aug 2018

ก่อร่างสร้างพันธมิตรใหม่ : รัสเซียกับประชานิยมขวาจัดในการเมืองยุโรป 

จิตติภัทร พูนขำ สำรวจการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียกับฝ่ายขวาจัดในยุโรป รวมทั้งวิเคราะห์นัยสำคัญของระบบพันธมิตรใหม่นี้ที่มีต่อการเมืองยุโรป

จิตติภัทร พูนขำ

31 Aug 2018

World

27 Jul 2018

Collusive Détente ในการประชุมซัมมิททรัมป์-ปูติน : ข้อสังเกตบางประการ 

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์นัยของการประชุมสุดยอดผู้นำระหว่างทรัมป์-ปูติน เมื่อกลางเดือนก.ค. ที่ผ่านมา พร้อมชำแหละมายาคติ 4 ข้อ ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างสองมหาอำนาจ–ในยุคที่ระเบียบเสรีนิยมกำลังถูกสั่นคลอน

จิตติภัทร พูนขำ

27 Jul 2018

World

29 Jun 2018

ผิดที่ไว้ใจ? รัสเซียกับสหภาพยุโรปในภูมิรัฐศาสตร์แห่งความหวาดระแวง

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพยุโรปกับรัสเซียเพื่อหาคำตอบว่า เหตุใดมหาอำนาจทั้งสองนี้จึงไม่อาจไว้วางใจต่อกันได้ในภูมิศาสตร์การเมืองโลกในปัจจุบัน

จิตติภัทร พูนขำ

29 Jun 2018

Global Affairs

2 Jun 2018

รัสเซีย : มหาอำนาจเอเชียแปซิฟิก?

อัตลักษณ์แห่งชาติ ยุทธศาสตร์แห่งชาติ ผลประโยชน์แห่งชาติ จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์ ทำไมรัสเซียไม่สามารถปักหมุดในเอเชียได้

จิตติภัทร พูนขำ

2 Jun 2018

World

27 Apr 2018

คงมีแต่ทรัมป์ที่ไปเกาหลีเหนือได้? : ความไว้เนื้อเชื่อใจในการเมืองโลก

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์ นัยของการพบกันระหว่างทรัมป์และคิม จอง อึน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้นำทั้งสองจะนำไปสู่ความไว้เนื้อเชื่อใจระดับประเทศได้อย่างไร

จิตติภัทร พูนขำ

27 Apr 2018

World

30 Mar 2018

EU Disintegration : เมื่อ(สหภาพ)ยุโรปแตกแยก

อะไรคือปัญหาของสหภาพยุโรปในโลกเสรีนิยมใหม่ ทำไมคำอธิบายใหม่ๆ จึงจำเป็นในการเมืองโลกปัจจุบัน

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์ ‘ที่มา’ ของความแตกแยกในยุโรป และฉายภาพ ‘ที่ไป’ ของสหภาพยุโรปในอนาคต

จิตติภัทร พูนขำ

30 Mar 2018

Global Affairs

2 Feb 2018

ย้อนมอง “วิกฤตนิวเคลียร์เกาหลี” ผ่านบทเรียนประวัติศาสตร์ “วิกฤตขีปนาวุธคิวบา”

จิตติภัทร พูนขำ มองสถานการณ์วิกฤตขีปนาวุธในคาบสมุทรเกาหลีผ่านบทเรียนทางประวัติศาสตร์จากวิกฤตขีปนาวุธคิวบา ทางเลือกและทางออกของวิกฤตนิวเคลียร์ระหว่างสหรัฐอเมริกา เกาหลีเหนือ และเกาหลีใต้อยู่ตรงไหน?

จิตติภัทร พูนขำ

2 Feb 2018

Global Affairs

29 Dec 2017

การเมืองระหว่างประเทศยามผลัดปี : การสิ้นสุดของอะไร?

จิตติภัทร พูนขำ สำรวจการเมืองระหว่างประเทศตลอดปี 2017 ที่ผ่านมา และมองไปข้างหน้าว่าเราจะได้เห็นอะไรในปี 2018

จิตติภัทร พูนขำ

29 Dec 2017

World

1 Dec 2017

รัฐประหาร ณ Luhansk : สันติภาพจากปลายกระบอกปืน สันติภาพไม่สถาพร?  

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์การรัฐประหารใน Luhansk เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2560 ในฐานะส่วนหนึ่งของความขัดแย้งแช่แข็งที่เรียกว่า “วิกฤตการณ์ยูเครนภาคตะวันออก” อำนาจจากปลายกระบอกปืนจะสร้างสันติภาพในยูเรเชียได้หรือไม่

จิตติภัทร พูนขำ

1 Dec 2017

World

27 Oct 2017

เปิดเบื้องลึกการเมืองรัสเซีย ตีแผ่วิถีแห่งอำนาจของปูติน

จิตติภัทร พูนขำ เปิดเบื้องลึกการเมืองรัสเซีย วิถีแห่งอำนาจของประธานาธิบดีปูตินเป็นอย่างไร ปูตินเดินบนวิถีผู้นำแบบไหน เครือข่ายอำนาจของเขาคือใคร มีบทบาททางการเมืองและเศรษฐกิจอย่างไร และเส้นทางอำนาจของการเมืองรัสเซียในอนาคตจะเป็นอย่างไร

จิตติภัทร พูนขำ

27 Oct 2017
1 2 3

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save