fbpx

Political Economy

14 Jun 2018

บอลโลก 2018 ฉบับนอกสนาม

ฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายที่รัสเซียกำลังจะเปิดฉากขึ้นในอีกไม่กี่อึดใจ นอกจากการบรรเลงเพลงแข้งของยี่สิบสองนักเตะบนพื้นหญ้า และสีสันของกองเชียร์บนอัฒจันทร์แล้ว ประเด็นต่างๆ ที่เกิดขึ้นนอกสนามก็น่าสนใจไม่แพ้กัน ดังนั้น ก่อนที่เสียงนกหวีดแรกจะดังขึ้น บทความนี้จึงอยากชวนดูฟุตบอลโลกคราวนี้ในมิติอื่นๆ ที่ไม่ใช่แค่เรื่องฟุตบอล

อิสร์กุล อุณหเกตุ

14 Jun 2018

Business

2 Apr 2018

Winner’s Curse: ทีวีดิจิทัลกับคำสาปของผู้ชนะ?

อิสร์กุล อุณหเกตุ วิเคราะห์ต้นตอของปัญหาของผู้ประกอบกิจการทีวีดิจิทัลในเมืองไทย เหตุใดอุตสาหกรรมมูลค่านับแสนล้านบาทจึงสร้างผู้แพ้มากกว่าผู้ชนะ

อิสร์กุล อุณหเกตุ

2 Apr 2018

Social Issues

12 Mar 2018

ดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชัน : ความเข้าใจผิดและความคาดหวังของ ป.ป.ช.

อิสร์กุล อุณหเกตุ ตีแผ่เบื้องหน้าและเบื้องหลังของดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชัน (Corruption Perception Index – CPI) ปีล่าสุด และตั้งคำถามถึงองค์กรหลักที่ทำหน้าที่ต่อต้านคอร์รัปชันอย่าง ป.ป.ช.

อิสร์กุล อุณหเกตุ

12 Mar 2018

Law

29 Jan 2018

ผลประโยชน์ทับซ้อน : จากหลักการถึงร่างกฎหมายแบบไทยๆ

จากประกาศห้ามบุคลากรทางการแพทย์ชาร์จมือถือในโรงพยาบาล สู่กรณี ‘นาฬิกาของเพื่อน’ อิสร์กุล อุณหเกตุ สำรวจหลักการเรื่อง ‘ผลประโยชน์ทับซ้อน’ และวิเคราะห์ปัญหาของร่างกฎหมายว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งกำลังได้รับการพิจารณาอยู่ในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

อิสร์กุล อุณหเกตุ

29 Jan 2018

Law

26 Dec 2017

การแต่งงานเพศเดียวกัน : คำสารภาพของนักนิติเศรษฐศาสตร์

นานวันเข้า การแต่งงานเพศเดียวกันได้รับการยอมรับจากสังคมมากขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นเรื่องถูกกฎหมายในหลายประเทศทั่วโลก ผู้คนจำนวนไม่น้อยเปลี่ยนความคิดไปจากเดิม และหนึ่งในนั้นคือ ริชาร์ด พอสเนอร์ เจ้าพ่อวิชา “นิติเศรษฐศาสตร์”

อิสร์กุล อุณหเกตุ สำรวจทัศนะของพอสเนอร์ว่าด้วยการแต่งงานเพศเดียวกัน ที่วิวัฒน์ข้ามกาลเวลา

อิสร์กุล อุณหเกตุ

26 Dec 2017

Thai Politics

12 Dec 2017

นาฬิกาของประวิตรกับคำถามของประยุทธ์

ด้วยแรงดลใจจาก “นาฬิกา” บนข้อมือของ พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ อิสร์กุล อุณหเกตุ สำรวจการเมืองเรื่องการแสดงบัญชีทรัพย์สิน จากแนวปฏิบัติรอบโลก สู่บัญชีทรัพย์สินของ พล.อ.ประวิตร จนถึงคำถามของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา

อิสร์กุล อุณหเกตุ

12 Dec 2017

Economic Focus

13 Nov 2017

ชวนอ่าน Inclusive Growth and Development Report

อิสร์กุล อุณหเกตุ ชวนทำความเข้าใจการเติบโตอย่างทั่วถึง (Inclusive Growth) ผ่านรายงาน Inclusive Growth and Development Report และพาไปดูว่ายุทธศาสตร์ชาติพูดถึงคำนี้ว่าอย่างไรบ้าง

อิสร์กุล อุณหเกตุ

13 Nov 2017

Thai Politics

11 Sep 2017

จากงบทหารถึงยุทธศาสตร์ชาติ: การแปลง ‘อำนาจ’ ให้เป็น ‘สถาบัน’

อิสร์กุล อุณหเกตุ ตั้งคำถามงบทหารกับการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติสัมพันธ์กันอย่างไร เศรษฐศาสตร์สถาบันช่วยอธิบายเบื้องหลังการผลักดันยุทธศาสตร์ชาติของรัฐบาลทหารอย่างไร

อิสร์กุล อุณหเกตุ

11 Sep 2017

Thai Politics

25 Jul 2017

ยุทธศาสตร์ชาติกับประชาชนที่หายไป

อิสร์กุล อุณเกตุ วิเคราะห์ร่างกฎหมายการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ ที่กำลังจะประกาศใช้ ประเด็นสำคัญคือ การมีส่วนร่วมของประชาชนและกลไกการรับผิดของรัฐบาลต่อประชาชนหายไปไหน และประเด็นสำคัญกว่าคือ กลไกการเลือกตั้งอาจมิได้มีความหมายใดๆ อีกต่อไป

อิสร์กุล อุณหเกตุ

25 Jul 2017

Thai Politics

20 Jun 2017

ทหารบนเก้าอี้บอร์ดรัฐวิสาหกิจ

“ช่วงที่ผ่านมา มีปัญหาภายในบอร์ดรัฐวิสาหกิจ ก็ได้มีการจัดให้ทหารเข้าไปนั่งสังเกตการณ์ ไม่ใช่ไปนั่งยกมือแสดงความคิดเห็น” พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา กล่าวชี้แจงเมื่อมีรายงานข่าวว่าหลังรัฐประหาร 2557 จำนวนทหารที่เข้าไปนั่งในบอร์ดรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นเท่าตัว โดยเป็นประธานบอร์ดเพิ่มขึ้นจาก 3 แห่ง เป็น 16 แห่ง

การสังเกตการณ์ของทหารมีราคาที่ต้องจ่าย “อิสร์กุล อุณหเกตุ” รายงานว่า ค่าตอบแทน เบี้ยประชุม และโบนัส ที่รัฐวิสาหกิจต้องจ่ายให้บอร์ดรัฐวิสาหกิจที่มีสินทรัพย์รวมสูงสุด 8 จาก 10 แห่ง ซึ่งมีบอร์ดเป็นทหาร โดยเฉลี่ยสูงถึง 1.5 ล้านบาทต่อตำแหน่งต่อปี

และนั่นเป็นเพียงแค่ปัญหาบนยอดภูเขาน้ำแข็งเพียงประการเดียวเท่านั้น อะไรเป็นปัญหาสำคัญทั้งบนยอดและข้างใต้ภูเขาน้ำแข็ง ติดตามอ่านต่อในรายงานพิเศษของ “อิสร์กุล อุณหเกตุ”

อิสร์กุล อุณหเกตุ

20 Jun 2017

Law

11 Apr 2017

ปรับ-ค่า-ปรับ

ประมวลกฎหมายอาญาของไทยบังคับใช้มาตั้งแต่ปี 2499 ตั้งแต่สมัยพี่แดง ไบเล่ย์ และพี่ปุ๊ ระเบิดขวด ยังครองเมือง โดยแทบจะไม่มีการแก้ไขบทลงโทษตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนไปเลย

ท่านทราบหรือไม่ว่า มูลค่าที่แท้จริงของค่าปรับจะค่อยๆ ลดลงเมื่อเวลาผ่านไป จาก 2,000 บาทเมื่อปี 2499 จะเหลือเพียง 200 บาทในปัจจุบันเท่านั้น!

เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น? แล้วเราจะทำอย่างไรให้โทษปรับยังทรงพลังได้คล้ายเดิมเมื่อเวลาผ่านไป?

อิสร์กุล อุณหเกตุ นักวิจัยด้านนิติเศรษฐศาสตร์ (ศาสตร์ที่เอากฎหมายและเศรษฐศาสตร์มาแต่งงานกัน!) มีข้อเสนอเรื่อง “ปรับ-ค่า-ปรับ” ให้ชวนคิดกันต่อในรายงานพิเศษชิ้นนี้

อิสร์กุล อุณหเกตุ

11 Apr 2017
1 2

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save