fbpx

Interviews

16 Jul 2018

เช็กเสียงประชาธิปไตยของคนใต้ ในสายตา ประสิทธิ์ชัย หนูนวล

“หัวใจประชาธิปไตยอยู่ที่เสรีภาพในการออกแบบเศรษฐกิจของประชาชน ถ้าพรรคการเมืองไหนทำแบบนี้ ผมว่าจะมีคนเยอะเลยที่จะเทคะแนนให้” คือเสียงจากประสิทธิ์ชัย หนูนวล นักเคลื่อนไหวทางสังคมในภาคใต้ 101 ชวนประสิทธิ์ชัยมองภาพความมั่นคงพลังงาน และเช็กเสียง ‘เสียงสนับสนุน’ ที่คนใต้เคยมีให้ คสช. และพรรคประชาธิปัตย์ว่าหลัง 4 ปีรัฐประหาร เสียงสนับสนุนที่เคยอุ่นหนาฝาคั่งยังเหมือนเดิมหรือไม่

ชลธร วงศ์รัศมี

16 Jul 2018

Interviews

9 Jul 2018

เมื่อความรักครองบอล : ฟุตบอลสนทนากับอันธิฌา แสงชัย

ชลธร วงศ์รัศมี คุยกับ ‘อันธิฌา แสงชัย’ อาจารย์ปรัชญา และผู้ก่อตั้ง ‘Buku FC’ แบบยาวๆ ว่าด้วยเรื่องราวของทีมฟุตบอลเพื่อความหลากหลายทางเพศ ความเปราะบางในสามจังหวัดชายแดนใต้ และความไร้เดียงสาทางปรัชญาของสังคมไทย

ชลธร วงศ์รัศมี

9 Jul 2018

Spotlights

29 Jun 2018

ค้นหาสปิริต 2475 ในเกมส์การ์ดและข้าวของ

อยากรู้ว่าการปฏิวัติ 2475 ‘แมส’ แค่ไหน ดูได้จากข้าวของ เมื่อสัญลักษณ์พานรัฐธรรมนูญจากกลุ่มผู้ก่อการอภิวัฒน์ฯ ได้เดินทางไปอยู่บนสิ่งละอันพันละน้อยทั่วไทย ทั้งขันน้ำ ขวด โคมไฟ ฯลฯ ย้อนดูร่องรอยการต้อนรับประชาธิปไตยอันอบอุ่นผ่านข้าวของยุค 2475 แล้วพิสูจน์ว่าคุณรู้จัก 2475 ดีแค่ไหนผ่าน ‘เกมส์การ์ด(ของ)คณะราษฎรที่เพิ่งออกแบบเสร็จใหม่หมาดๆ!

ชลธร วงศ์รัศมี

29 Jun 2018

POETIC

9 Jun 2018

เบื้องหลังบทกวีของ เกษียร เตชะพีระ

ชวนสนทนาเรื่องบทกวีกับ ‘เกษียร เตชะพีระ’ และพินิจความงามของ ‘กวีฝ่ายซ้าย’ กับนักวิชาการผู้ได้ชื่อว่าแต่งบทกวีได้งดงาม คมคาย และทันสถานการณ์ที่สุดในเวลานี้

ชลธร วงศ์รัศมี

9 Jun 2018

City

7 Jun 2018

ค้นหาทองหล่อ-เอกมัยฉบับคนเดินเท้า (2)

ตระเวนยามค่ำของทองหล่อ-เอกมัย ย่านที่มีบาร์ลับเป็นที่คุยธุรกิจ ร้านกาแฟเป็นที่ปิดดีลนับสิบล้าน และร้านลาบเป็นศูนย์รวมของผู้ทำงานยามค่ำคืน

ชลธร วงศ์รัศมี

7 Jun 2018

Life & Culture

2 Jun 2018

ค้นหาทองหล่อ-เอกมัยฉบับคนเดินเท้า (1)

6 โมงเช้า-6 โมงเย็น กับการเดินเท้าในย่านทองหล่อ-เอกมัย จะเป็นอย่างไรบ้าง 101 ชวนเดินเท้าชิลชิลไปในย่าน ทองหล่อ-เอกมัย ที่ว่ากันว่าเป็นที่อยู่อาศัยสมบูรณ์แบบ

ชลธร วงศ์รัศมี

2 Jun 2018

Books

23 May 2018

Ode to Joy : ความตายของนักพฤกษศาสตร์และบทกวีแด่ความปีติรื่นรมย์

‘Ode to Joy’ คือเพลงที่เดวิด กูดดอลล์ ชายชราผู้ปรารถนาการุณยฆาตเลือกฟังก่อนตาย เหตุใดเพลงนี้จึงเหมาะสมเป็นเพลงอำลาชีวิต และหากใครยังอยากมีชีวิตต่อไป ‘Ode to Joy’ เหมาะสำหรับใช้ฉลองการได้มีชีวิตอยู่เช่นกัน

ชลธร วงศ์รัศมี

23 May 2018

Health

17 May 2018

เมื่อโรคอยู่ในลมหายใจคนไทย : เอกซเรย์ความคิด นพ.ทรงกลด เอี่ยมจตุรภัทร

เพราะอะไรคนไทยจึงเป็น ‘โรคทางเดินหายใจ’ กันมากขึ้น ไขข้อข้องใจโดยศัลยแพทย์ด้านไซนัสมือวางอันดับต้นๆ ของประเทศ รศ.นพ.ทรงกลด เอี่ยมจตุรภัทร และในอากาศที่เราหายใจมีปัจจัยก่อโรคใดซ่อนอยู่ ?

ชลธร วงศ์รัศมี

17 May 2018

Spotlights

10 May 2018

Dust Atlas (5) : ยุคเท่าทันฝุ่น

เมื่อยุคอยู่กับฝุ่นมาถึง เราจะมีวิธีรับมือปัญหาอย่างไร สำรวจองค์ความรู้ในการจัดการฝุ่น PM 2.5 ที่มีในสังคมไทย ซึ่งการแก้ปัญหานี้อาจทำให้เกิดการหันหน้าเข้าหากันครั้งใหญ่มากกว่าที่คิด

ชลธร วงศ์รัศมี

10 May 2018

Spotlights

4 May 2018

Dust Atlas (4) : ฝุ่น PM 2.5 และสิทธิมนุษยชน

ปริมาณฝุ่น PM 2.5 สัมพันธ์กับระดับความเข้มแข็งของสิทธิมนุษยชนมากกว่าที่คิด การต่อรองให้ได้เมืองที่ดีและอากาศสะอาดหายใจ ไม่ใช่สิ่งที่ได้มาง่ายดายแต่ต้องผ่านการต่อรองบนฐานอำนาจที่เท่าเทียม

ชลธร วงศ์รัศมี

4 May 2018

Spotlights

19 Apr 2018

Dust Atlas (3) ฝุ่นในดินแดนคอมมิวนิสต์และโลกเสรี

จีนและอเมริกาแก้ไขปัญหาฝุ่น PM 2.5 อย่างไร คอมมิวนิสต์เกินไป? หรือประชาธิปไตยเกินไปหรือไม่? ในความเข้มงวดอาจมีผ่อนเพลาอำนาจ และในความยืดหยุ่นอาจมีกรอบแข็งแรง

ชลธร วงศ์รัศมี

19 Apr 2018

POETIC

14 Apr 2018

บทกวีแด่โรคมะเร็ง

โรคมะเร็งมีบทกวีเป็นของตนเองมากอย่างน่าทึ่ง ทั้งตลกร้าย โศกเศร้า กระทั่งบทกวีที่เอ่ยถึงพัฒนาการของมัน คอลัมน์ Poetic ชวนผู้อ่านเจาะเข้าไปในเซลล์มะเร็งที่เชื่อมต่อกับหัวใจกวีใน ‘บทกวีแด่โรคมะเร็ง’

ชลธร วงศ์รัศมี

14 Apr 2018
1 2 3

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save