fbpx

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ EP.14 – เศรษฐกิจอาเซียนอยู่อย่างไรในภาวะโลกร้อน?

ภาวะโลกร้อนจัดว่าเป็นภัยคุกคามที่อันตรายยิ่งต่อมวลมนุษยชาติไม่ว่าจะอยู่ในพื้นที่ใดของโลก และที่น่ากลัวยิ่งไปกว่านั้นคือผลการศึกษาหลายชิ้นที่ชี้ว่า หนึ่งในภูมิภาคที่จะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหนักที่สุดก็คือ ‘เอเชียตะวันออกเฉียงใต้’ ของเรา

ต่อให้ไม่ต้องมีผลการศึกษา ผลกระทบของโลกร้อนต่อบรรดาชาติอาเซียนของเราก็เป็นที่เห็นกันได้ชัดเจน ทั้งสภาพอากาศที่แปรปรวนหนักขึ้น ภัยธรรมชาติที่เกิดถี่ขึ้น และหลายเมืองใหญ่ที่กำลังเสี่ยงจมน้ำในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า

ภาวะโลกร้อนจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจอาเซียนมากขนาดไหน แล้วเศรษฐกิจอาเซียนจะต้องปรับตัวไปอย่างไรเพื่อรับมือกับปัญหาระดับโลกนี้

ไปฟังคำตอบด้วยกันกับ พี่โหน่ง-กฤษฎ์เลิศ สัมพันธารักษ์ และ เบน-วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา ในตอนสุดท้ายของ ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ Journey to ASEAN Econ

MOST READ

World

1 Oct 2018

แหวกม่านวัฒนธรรม ส่องสถานภาพสตรีในสังคมอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก สำรวจที่มาที่ไปของ ‘สังคมชายเป็นใหญ่’ ในอินเดีย ที่ได้รับอิทธิพลสำคัญมาจากมหากาพย์อันเลื่องชื่อ พร้อมฉายภาพปัจจุบันที่ภาวะดังกล่าวเริ่มสั่นคลอน โดยมีหมุดหมายสำคัญจากการที่ อินทิรา คานธี ได้รับเลือกให้เป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกในประวัติศาสตร์

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

1 Oct 2018

Economy

15 Mar 2018

การท่องเที่ยวกับเศรษฐกิจไทย

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย ตั้งคำถาม ใครได้ประโยชน์จากการท่องเที่ยวบูม และเราจะบริหารจัดการผลประโยชน์และสร้างความยั่งยืนให้กับรายได้จากการท่องเที่ยวได้อย่างไร

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

15 Mar 2018

Economy

12 Dec 2018

‘รวยกระจุก จนกระจาย’ ระดับสาหัส: ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจไทยในศตวรรษที่ 21

ธนสักก์ เจนมานะ ใช้ข้อมูลและระเบียบวิธีวิจัยใหม่ล่าสุดสำรวจสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำไทยที่ ‘สาหัส’ เป็นอันดับต้นๆ ของโลก

ธนสักก์ เจนมานะ

12 Dec 2018

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save