Day: July 8, 2021
Day: July 8, 2021
Filter
Sort
ใครเป็นตัวเต็งตัวตึงในการเลือกตั้งอินโดนีเซีย 2024
อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงการเลือกตั้งประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีของอินโดนีเซียที่กำลังจะมีขึ้นในปี 2024 กับ ‘ตัวเต็ง’ อันของเกมการเมือง ที่มีทั้งผู้เล่นหน้าใหม่น่าจับตา และผู้เล่นหน้าเก่าเก๋าเกม

อรอนงค์ ทิพย์พิมล
22 Mar 2023เช้าวันใหม่ใต้ร่มประชาธิปัตย์ คุยกับ ‘มาดามเดียร์’ ถึงภารกิจกู้วิกฤตศรัทธาสู้ศึกเลือกตั้งปี ’66
สนทนากับ วทันยา บุนนาค ถึงเช้าวันใหม่ของพรรคประชาธิปัตย์ก่อนเข้าสู่ศึกเลือกตั้ง 2566 พร้อมคุยถึงอนาคตของเธอภายใต้ชายคาพรรคสีฟ้า

โสรญา อะทาโส
22 Mar 2023วิจักขณ์ พานิช : ว่าด้วยที่ทางของความศรัทธา ความรัก และความโกรธในยุคสมัยแห่งความสิ้นหวัง
101 คุยกับ วิจักขณ์ พานิช ผู้อำนวยการสถาบันวัชรสิทธถึงมุมมองที่เขามีต่อศรัทธา การทำงานกับศรัทธาท่ามกลางสถานการณ์ที่บีบบังคับให้มนุษย์หมดศรัทธา รวมถึงคำถามที่หลายคนสงสัยว่าความศรัทธานั้นมีความหมายอย่างไรในการต่อสู้ทางการเมือง

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์
22 Mar 2023A ‘New’ Cold War in the Arctic? ขยับขยายสมรภูมิภูมิรัฐศาสตร์สู่ขั้วโลกเหนือ
ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง การแข่งขันและความร่วมมือในภูมิภาคอาร์กติกที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นในหมู่ ‘รัฐอาร์กติก’ และ ‘รัฐที่อยู่ใกล้อาร์ติก’ โดยเฉพาะระหว่างสหรัฐฯ รัสเซีย และจีน จนตกอยู่ในสภาวะสามขั้วอำนาจของสงครามเย็น

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล
22 Mar 2023“เราพ่ายแพ้ต่อโฆษณาชวนเชื่อ” บทเรียนจากเลือกตั้งฟิลิปปินส์สู่เลือกตั้งไทย ในยุคข้อมูลเท็จระบาด
101 ถอดบทเรียนการต่อสู้ข้อมูลเท็จการเลือกตั้งฟิลิปปินส์ จากคนฟิลิปปินส์ผู้มีบทบาทในการต่อสู้ เพื่อย้อนมองประเทศไทยที่ใกล้เข้าสู่การเลือกตั้ง

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา
21 Mar 2023ผู้หญิงส่วนเกิน A Single Thread (เพียงหนึ่งไจเดียว)
‘นรา’ ชวนอ่าน ‘เพียงหนึ่งไจเดียว’ (A Single Thread) ผลงานของเทรซี เชวาเลียร์ ที่พูดถึงการต่อสู้เพื่อเป็นอิสระของผู้หญิงซึ่งสังคมมองว่าเป็นส่วนเกิน

นรา
21 Mar 2023สปาร์ตัก มอสโกว์-ดินาโม มอสโกว์: เมื่ออำนาจรัฐปะทะประชาชนกลางเมืองหลวง
คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา พาไปรู้จักคู่แข่งแห่งเมืองมอสโกว์ ‘สปาร์ตัก มอสโกว์-ดินาโม มอสโกว์’

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา
20 Mar 2023พลังแห่งเหตุผลของคำพิพากษาในคดีการเมืองไทย
ต่อพงศ์ กิตติยานุพงศ์ ชี้ชวนให้เห็นถึงปัญหาเรื่องพลังแห่งเหตุผลในการทำคำพิพากษาของศาล โดยเฉพาะในคดีการเมืองที่กระทบต่อผลประโยชน์และความรู้สึกของประชาชน

ต่อพงศ์ กิตติยานุพงศ์
20 Mar 2023All The Beauty and The Bloodshed เจ็บตรงไหน สู้ตรงนั้น
วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา เขียนถึงสารคดี All The Beauty and The Bloodshed ว่าด้วยชีวิตของ Nan Goldin ศิลปินและช่างภาพชาวอเมริกัน และสะท้อนสภาวะทางการเมืองตั้งแต่ระดับปัจเจกไปจนถึงระดับโลกที่วางล้อมรอบตัวเธอ

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา
20 Mar 2023‘ฮีโร่ผู้กู้ชาติ’ หรือ ‘คนนอกของสังคม’? ปรากฏการณ์อคติทางเชื้อชาติต่อฟุตบอลทีมชาติฝรั่งเศส
อัยย์ลดา แซ่โค้ว เขียนถึง อคติทางเชื้อชาติต่อนักเตะทีมชาติฝรั่งเศสเชื้อสายผู้อพยพที่ยังคงอยู่ แม้ว่าพวกเขาจะเป็นจุดกำเนิดความยิ่งใหญ่ของทัพตราไก่และนำความสำเร็จมาสู่ฝรั่งเศสในสนามลูกหนังก็ตาม ซึ่งสะท้อนปัญหาการเหยียดเชื้อชาติในสังคมฝรั่งเศสและมรดกยุคอาณานิคมที่ยังไม่หายไปไหน

อัยย์ลดา แซ่โค้ว
20 Mar 2023101 In Focus Ep. 170 : เทโรง, ผูกขาดและเซ็นเซอร์ ว่าด้วยปัญหาเรื้อรังในอุตสาหกรรมหนังไทย
ดูเหมือนดราม่าคลาสสิกของอุตสาหกรรมหนังไทย จะมัดรวมกันอยู่ตั้งแต่สามเดือนแรกของปี 2023 ทั้งเรื่องการเทรอบฉาย, การผูกขาดหนัง ไปจนถึงการเซ็นเซอร์
101 หยิบเอาบางส่วนของบทความ ปรากฏการณ์โรงหนังเทรอบฉาย: “ก็โรงหนังเขามาทำธุรกิจ ไม่ได้มาทำการกุศล!” (รู้แล้วจ้า) และบทสัมภาษณ์ โรงหนัง-สายหนัง และชะตากรรมหนังไทยปัจจุบัน กับ อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล เพื่อเป็นส่วนประกอบในการวิเคราะห์ถึงปัญหาที่เกิดขึ้นนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข
17 Mar 2023ในสังคมที่ต้องการผู้กล้า เราจะรับมือกับ SLAPP การฟ้องปิดปากเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างไร?
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงกรณีการดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์เพื่อหยุดยั้งการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนต่อประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์
17 Mar 2023ไตรลักษณ์แห่งความตายของชัยภูมิ ป่าแส
ครบรอบ 6 ปีที่ชัยภูมิ ป่าแส นักกิจกรรมชาติพันธุ์ถูกเจ้าหน้าที่ทหารยิงเสียชีวิต จนถึงปัจจุบันยังไม่มีคำอธิบายถึงความเป็นจริงและความรับผิดของผู้เกี่ยวข้องอย่างชัดเจน

สมชาย ปรีชาศิลปกุล
17 Mar 2023‘การดูหนังเหมือนการกินอาหาร และงานวิจารณ์คือการไปโรงฆ่าสัตว์’ : ประวิทย์ แต่งอักษร
ท่ามกลางเพจหนังต่างๆ มากมายและโลกโซเชียลมีเดียกับภาพลักษณ์ที่ว่า ‘ใครก็แสดงความเห็นได้’ 101 สนทนากับ ประวิทย์ แต่งอักษร นักวิจารณ์ภาพยนตร์ที่อยู่กับชีวิตการวิจารณ์มาร่วมสี่ทศวรรษ ว่าแล้วอย่างนั้นนักวิจารณ์จะยังจำเป็นอยู่อีกหรือไม่ ความคับแคบของวงการหนังไทย และดราม่าตั้งแต่การผูกขาดรอบหนังถึงการเซ็นเซอร์ ส่งผลอย่างไรต่อการวิพากษ์วิจารณ์บ้าง

พิมพ์ชนก พุกสุข
16 Mar 2023101 POSTSCRIPT คุยข่าวนอกสคริปต์ EP.69 : ก้าวข้ามความขัดแย้ง…ยังไง?
ประวิตร วงษ์สุวรรณ เสนอตนเป็นตัวกลางระหว่างฝ่ายอนุรักษนิยมและเสรีนิยม เพื่อ ‘ก้าวข้ามความขัดแย้ง’ คำถามที่น่าสนใจคือ จะทำยังไง?

กองบรรณาธิการ
16 Mar 2023เมื่อโลกไม่ได้เป็นสีชมพู Pink
นรา ชวนชม ‘Pink’ หนังอินเดียปี 2016 กำกับโดยอนิรุธ รอย ชอเดอรี ที่นำเสนอความไม่เท่าเทียมทางเพศผ่านเรื่องราวการสู้คดีในชั้นศาล

นรา
8 Jul 2021101 In Focus Ep.87 : Justice Next Version อัปเกรดระบบยุติธรรม สู่เวอร์ชันอนาคต
101 In Focus ชวนคุยกันเรื่อง เทคโนโลยีในกระบวนการยุติธรรม โดยมองผ่านผลงานจากสปอตไลต์ Justice Next Version อัปเกรดระบบยุติธรรม สู่เวอร์ชันอนาคต

กองบรรณาธิการ
8 Jul 2021“วันที่รู้ว่าโดน 112 เหมือนโลกถล่มแผ่นดินทลาย” ณัฏฐิกา วรธันยวิชญ์ กับชีวิตผู้ลี้ภัยในต่างแดน
วจนา วรรลยางกูร คุยกับณัฏฐิกา วรธันยวิชญ์ ผู้ลี้ภัยไทยในอเมริกา ถึงชีวิตของเธออันเป็นภาพสะท้อนผลพวงจากการรัฐประหาร 2557 ที่ทำลายชีวิตผู้คนจำนวนมากต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน

วจนา วรรลยางกูร
8 Jul 2021101 One-on-One Ep.232 สู่ศตวรรษใหม่ พรรคคอมมิวนิสต์จีน กับ สิทธิพล เครือรัฐติกาล
101 ชวน รศ.ดร.สิทธิพล เครือรัฐติกาล ผู้อำนวยการสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา และอาจารย์ประจำวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มาพูดคุยถึงพัฒนาการตลอด 100 ปีของพรรคคอมมิวนิสต์จีน พร้อมมองอนาคต ความท้าทาย และความฝันอันทะเยอทะยานของพรรค ก่อนเดินหน้าสู่ศตวรรษใหม่

101 One-on-One
8 Jul 2021สถานการณ์ขยะกับโควิดและชีวิตของเราหลังจากนี้
คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนสำรวจสถานการณ์ขยะที่เพิ่มจำนวนขึ้นทั่วโลกหลังไวรัสโควิด-19 ระบาด

เอกศาสตร์ สรรพช่าง
8 Jul 2021Exclusive เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ: คำตอบในสายลมแห่ง ‘หน้าที่’ ผู้ว่าแบงก์ชาติ กลางพายุมหาวิกฤต
101 สัมภาษณ์พิเศษ ดร.เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ถึงเบื้องหลังการตัดสินใจลงสนามชิงตำแหน่งผู้ว่าแบงก์ชาติ การบริหารและขับเคลื่อนโยบายเศรษฐกิจในห้วงวิกฤต เทรนด์เศรษฐกิจโลก และการตั้งหลักใหม่ประเทศไทย
