fbpx
101 One-On-One Ep.93 นโยบายแก้จน: บทเรียนจากนักเศรษฐศาสตร์โนเบล 2019 ถึงสังคมเศรษฐกิจไทย

101 One-On-One Ep.93 นโยบายแก้จน: บทเรียนจากนักเศรษฐศาสตร์โนเบล 2019 ถึงสังคมเศรษฐกิจไทย

 

ปี 2019 รางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ได้ถูกมอบให้กับ อภิจิต แบนเนอร์จี (Abhijit Banerjee) เอสเธอร์ ดูฟโล (Esther Duflo) และไมเคิล เครเมอร์ (Michael Kremer) สามนักเศรษฐศาสตร์พัฒนาผู้มีส่วนสำคัญในฐานะบุกเบิกความรู้ใหม่ในด้านการแก้ไขความยากจน

ปี 2019 แม้ประเทศไทยจะได้ชื่อว่าเป็นประเทศรายได้ปานกลางระดับสูงมาหลายปีแล้ว แต่การเคลื่อนไหวของสมัชชาคนจนคือความจริงที่ฟ้องว่า สังคมไทยยังมีปัญหาใหญ่เรื่องการพัฒนา ข้อมูลล่าสุด (ปี 2018) พบว่า ประเทศไทยยังมีจำนวนคนจนกว่า 6,600,000 คน หรือคิดเป็นกว่า 9.5% ของประชากรทั้งประเทศ ไม่ต้องพูดถึงว่า ยังมีอีกคนอีกหลายล้านคนที่อยู่มีชีวิตอย่างเปราะบาง และสุ่มเสี่ยงที่จะกลายเป็น ‘คนจน’ ได้ตลอด

นโยบายแก้จนของไทยเป็นอย่างไร เดินมาถูกทางหรือไม่ และเราเรียนรู้อะไรจากโลกได้บ้าง

คุยกับ ดร.สมชัย จิตสุชน ผู้อำนวยการวิจัยด้านการพัฒนาอย่างทั่วถึง สถาบันเพื่อการวิจัยและพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)

วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2 ทุ่มตรง

ดำเนินรายการโดย พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

 

MOST READ

Media

5 Aug 2020

101 One-On-One Ep.167 : Inconvenient Truths การเมืองไทย กับ พิธา ลิ้มเจริญรัตน์

คุยกับพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคก้าวไกล ว่าด้วยวิกฤตสุขภาพ สู่วิกฤตเศรษฐกิจ ถึงวิกฤตการเมืองและรัฐธรรมนูญ

‘ทิม’ อ่านวิกฤตเศรษฐกิจการเมืองรอบนี้อย่างไร และอะไรคือข้อเสนอของเขาและพรรคก้าวไกลต่อสังคม

101 One-on-One

5 Aug 2020

Media

21 Dec 2018

พี่ๆ ข่มขืนหนูซ้ำทำไม?

คุณว่าอะไรคือสิ่งที่ทำให้ผู้หญิงไม่กล้าเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม? คุณเคยตั้งคำถามหรือมีอคติกับผู้ที่เป็นเหยื่อความรุนแรงทางเพศหรือเปล่า? ทำไม การถามเหยื่อว่า “ทำไมแต่งตัวแบบนั้น ถึงเป็นคำถามท่ี่ไม่ควรถาม?” การตั้งคำถามแบบไหน ที่ช่วยฟื้นฟูจิตใจเหยื่อ?

กองบรรณาธิการ

21 Dec 2018

Media

6 Mar 2018

ทำไมคนไทยขี้โกง ?

คุณว่า…คุณเป็นคนดีอย่างที่คิดจริงหรือ?
คุณเลือกที่จะขโมยของเพื่อช่วยแม่ที่กำลังป่วยอยู่หรือไม่ ?
คุณจะเลือกจ่ายเงินช่วยลูกให้พ้นความผิดหรือเปล่า ?
ความดีกับคนดีแตกต่างกันยังไง ?
ทำไมคนไทยมีสถิติบริจาคเงินสูงเป็นอันดับ 5 ของโลก แต่กลับไม่ชอบเป็นอาสาสมัคร ?
ทำไมสถิติการจ่ายค่าแป๊ะเจี๊ยะในประเทศไทยสูงขึ้น 16 เท่า ?
เก็บคำตอบของคุณไว้ในใจ และอย่าเพิ่งบอกใคร ถ้าคุณยังไม่ได้ดูคลิปนี้
ร่วมไขปริศนา “ทำไมคนไทยขี้โกง ?” ผ่านเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมด้วยการทดลอง

กองบรรณาธิการ

6 Mar 2018

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save